วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552

วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2552


การออกหนังสือรับรองภาษาอังกฤษปัจจุบันสรรพากรได้ให้บริการการออกหนังสือรับรองการเสียภาษี และการมีถิ่นที่อยู่เป็นภาษาอังกฤษให้กับผู้เสียภาษี ผู้เสียภาษีสามารถนำหนังสือรับรองเหล่านี้ไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางภาษีในต่างประเทศได้ ประเภทหนังสือรับรองที่ออกให้โดยกรมสรรพากร1. หนังสือรับรองการเสียภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Non – Resident Withholding Tax Certificate)2. หนังสือรับรองการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และนิติบุคคลเป็นภาษาอังกฤษ (Income Tax Payment Certificate)3. หนังสือรับรองการมีถิ่นที่อยู่เพื่อการรัษฎากรในประเทศไทย (Certificate of Residence)4. หนังสือรับรองการมีสถานภาพเป็นผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Statement on the Tax Status of the Business)5. หนังสือรับรองการมีสถานภาพเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายไทย (Certificate of Status of Taxable Person)ผู้ออกหนังสือรับรอง สำนักงานสรรพากรที่รับผิดชอบในท้องที่ของผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย หรือผู้เสียภาษี ซึ่งได้แก่ - สรรพากรภาค - สำนักบริหารผู้เสียภาษีขนาดใหญ่ขออย่างไรยื่นคำร้องต่อสำนักงานสรรพากรที่ท่านสังกัดตามข้างต้น พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ตามประเภทของหนังสือรับรองที่ต้องการ)
เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
เลขประจำตัวประชาชนใช้แทนเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรที่ยังคงต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
เอกสารที่ต้องแนบพร้อมกับแบบคำร้องการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นภาษีอากรประเภทหนึ่งที่บัญญัติไว้ ในประมวลรัษฎากร จัดเก็บจากเงินได้ของบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีหลักการจัดเก็บที่สำคัญๆ โดยลำดับดังนี้
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
นิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
ฐานภาษีของภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณจากกำไรสุทธิ
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิ
รอบระยะเวลาบัญชี
กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
อัตราภาษีและการคำนวณภาษี
การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับการจำหน่ายกำไรไปนอกประเทศ
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
บัญชีอัตราภาษี
ภาษีธุรกิจเฉพาะ เป็นภาษีตามประมวลรัษฎากรประเภทหนึ่ง จัดเก็บจากการประกอบกิจการเฉพาะอย่างแทนภาษีการค้าที่ถูกยกเลิก ภาษีธุรกิจเฉพาะเริ่มใช้บังคับใน พ.ศ.2535 พร้อมกันกับภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
การประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
กิจการที่ไม่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
ฐานภาษีและอัตราภาษี
หน้าที่ของผู้ประกอบกิจการที่ต้องเสียภาษีธุรกิจเฉพาะ
การยื่นแบบแสดงรายการภาษีธุรกิจเฉพาะ
การขอคืนภาษีธุรกิจเฉพาะ
กำหนดเวลาในการยื่นแบบแสดงรายการภาษี (ภ.ธ.40)
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา..... คือ ภาษีที่จัดเก็บจากบุคคลทั่วไป หรือจากหน่วยภาษีที่มีลักษณะพิเศษ ตามที่กฎหมายกำหนดและมีรายได้เกิดขึ้นตามเกณฑ์ที่กำหนด โดยปกติจัดเก็บเป็นรายปี รายได้ที่เกิดขึ้นในปีใดๆ ผู้มีรายได้มีหน้าที่ต้องนำไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีที่กำหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปีถัดไป สำหรับผู้มีเงินได้บางกรณีกฎหมายยังกำหนดให้ยื่นแบบฯ เสียภาษีตอนครึ่งปี สำหรับรายได้ ที่เกิดขึ้นจริงในช่วงครึ่งปีแรก เพื่อเป็นการบรรเทาภาระภาษีที่ต้องชำระและเงินได้บางกรณี กฎหมายกำหนดให้ ผู้จ่ายทำหน้าที่หักภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินได้ที่จ่ายบางส่วน เพื่อให้มีการทยอยชำระภาษีขณะที่มีเงินได้เกิดขึ้นอีกด้วย
ใครมีหน้าที่เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ?
เมื่อมีเงินได้เกิดขึ้นแล้วผู้มีหน้าที่เสียภาษีจะต้องทำอะไรบ้าง?
เงินได้อะไรบ้างที่ต้องเสียภาษี?
ผู้ที่มีเงินได้เกิดขึ้นในระหว่างปีภาษีมีหน้าที่ต้องยื่นแบบฯ เสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาทุกกรณีหรือไม่?
เงินได้อันเป็นเหตุให้ต้องนำไปรวมคำนวณภาษีมาจากแหล่งใดบ้าง?
ในการเสียภาษีจะต้องคำนวณภาษีอย่างไร?
เงินได้พึงประเมินอะไรบ้างที่ได้รับยกเว้นภาษี?
วิธีการคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาสิ้นปีจะต้องทำอย่างไร?
เงินได้พึงประเมินแต่ละกรณีจะคำนวณหักค่าใช้จ่ายได้เท่าใด?
ผู้มีเงินได้มีสิทธิหักลดหย่อนอะไรได้บ้าง?
ผู้มีเงินได้มีหน้าที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาอย่างไร และเมื่อใด?
ยื่นแบบแสดงรายการได้ที่ไหน?
การชำระภาษีด้วยวิธีใดบ้าง?
หากยื่นแบบแล้วมีภาษีต้องชำระจะขอผ่อนชำระภาษีได้หรือไม่
ถ้าไม่ชำระในกำหนดเวลาหรือชำระไม่ถูกต้องจะมีความรับผิดอย่างไรบ้าง?
บัญชีอัตราภาษี

ผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่ไม่ต้องจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ผู้ประกอบการที่ได้รับการยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมายแต่สามารถขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้
วิธีการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
กำหนดเวลาการจดทะเบียน
สถานที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
ใบแทนใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
หน้าที่ของผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
การเปลี่ยนแปลงการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
กิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามกฎหมาย
การยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม
กำหนดเวลา สถานที่ยื่นแบบและการชำระภาษี
ใบกำกับภาษี
การออกใบกำกับภาษี
ผู้มีหน้าที่ออกใบกำกับภาษี
ประเภทของใบกำกับภาษี
การจัดทำใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป
การยกเลิกใบกำกับภาษีฉบับเดิม แล้วออกฉบับใหม่
การออกใบแทนใบกำกับภาษี ใบเพิ่มหนี้ ใบลดหนี้