วันพฤหัสบดีที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

1. วัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้รับการฝึกมีความรู้ ทักษะ และมีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ตลอดจนมีทัศนคติที่ดีต่อการประกอบอาชีพ ช่างซ่อมเครื่องยนต์ และสามารถปฏิบัติงานได้ ดังนี้
1.1 สามารถปฏิบัติงานด้านช่างพื้นฐานได้
1.2 ปฏิบัติงานถอด-ประกอบชิ้นส่วนในระบบต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ได้
1.3 ปฏิบัติงานด้านบริการและบำรุงรักษาเครื่องรถยนต์ได้
1.4 ตรวจหาสาเหตุและแก้ไขข้อขัดข้องเบื้องต้นของระบบเครื่องยนต์ได้
1.5 เลือกใช้วัสดุ-อุปกรณ์และเครื่องมือ ตลอดจนรู้จักการเก็บและบำรุงรักษาอย่างถูกวิธี
2. ระยะเวลาฝึกผู้รับการฝึกจะได้รับการฝึกทั้งภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนา ฝีมือแรงงาน เป็นเวลา 6 เดือน (840 ชั่วโมง) หลังจากนั้นจะได้รับการฝึกในสถานประกอบการอีกเป็นเวลา2 เดือน
3. คุณสมบัติของผู้รับการฝึก
3.1 สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.3) หรือเทียบเท่าขึ้นไป
3.2 มีอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไป
3.3 มีสภาพร่างกายและจิตใจที่ไม่เป็นอุปสรรคต่อการฝึก และสามารถเข้ารับการฝึกได้ตลอดหลักสูตร การฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์
4. ชื่อวุฒิบัตรและการรับรองผลการฝึกชื่อเต็ม: วุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์ชื่อย่อ: วพร. ช่างซ่อมเครื่องยนต์
4.1 ผู้รับการฝึกที่ฝึกจบหลักสูตร โดยมีระยะเวลาฝึกตามหลักสูตรในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และผ่านการประเมินผลจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน แต่ไม่สามารถเข้าฝึกงานในสถานประกอบการด้วยเหตุผลใดก็ตาม จะได้รับใบรับรองผลการฝึก
4.2 ผู้รับการฝึกที่ผ่านการทดสอบจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน และผ่านการประเมินผลจากสถานประกอบการที่เข้าฝึกในกิจการ จะได้รับวุฒิบัตร วพร. ช่างซ่อมเครื่องยนต์ และหนังสือรับรองการฝึกงานจากสถานประกอบการที่เข้ารับการฝึก
5. หลักสูตรการฝึก
5.1 โครงสร้างหลักสูตร
5.1.1 การฝึกในสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน แบ่งออกเป็น 3 หมวด ใช้เวลาฝึก 6 เดือน (840 ชั่วโมง) โดยจำแนกรายละเอียดได้ดังนี้(1) หมวดความรู้ความสามารถพื้นฐาน 119 ชั่วโมง(2) หมวดความรู้ความสามารถหลัก 644 ชั่วโมง(3) หมวดความรู้ความสามารถเสริม 77 ชั่วโมง5.1.2 เมื่อผู้รับการฝึกผ่านการประเมินผลจากสถาบันพัฒนาฝีมือแรงงาน/ ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงานแล้ว จะได้รับการฝึกงานในสถานประกอบการอีก เป็นเวลา 2 เดือนการฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์35.2 หัวข้อวิชา0911010101หมวดความรู้ความสามารถพื้นฐานกิจกรรมสร้างเสริมนิสัยในการทำงาน0911010102ความปลอดภัยในการทำงาน0911010113งานเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น0911010103คณิตศาสตร์ช่าง0911010119การฝึกฝีมือเบื้องต้น0911010118วัสดุงานช่างยนต์หมวดความรู้ความสามารถหลัก0911022101พื้นฐานเครื่องยนต์0911023101แบตเตอรี่0911023113ระบบสตาร์ทและควบคุม0911022113ระบบหล่อลื่น0911022114ระบบระบายความร้อน0911023114ระบบจุดระเบิด0911022206ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเบนซิน0911022207ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงควบคุมด้วยอิเล็กทรอนิกส์0911022208การถอด-ประกอบและการตรวจสอบเครื่องยนต์เบนซิน0911022209การแก้ไขข้อขัดข้องของเครื่องยนต์เบนซิน0911022307ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงดีเซล0911022308ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงดีเซล0911022309หัวฉีด0911022310การถอด-ประกอบและการตรวจสอบเครื่องยนต์ดีเซล0911022311การแก้ไขข้อขัดข้องเครื่องยนต์ดีเซลการฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์0911022115การปรับแต่งเครื่องยนต์0911026103การบำรุงรักษาและเหตุข้อขัดข้องหมวดความรู้ความสามารถเสริม840 หมวดความรู้ความสามารถเสริม (280 ชั่วโมง)0911030104คอมพิวเตอร์เบื้องต้น0911030105ภาษาอังกฤษในการทำงาน0911030106การประกอบธุรกิจส่วนตัว0 หมายเหตุ1. หัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในหมวดความรู้ความสามารถพื้นฐาน ผู้รับการฝึกในกลุ่มอาชีพช่าง ยนต์ เช่น ช่างซ่อมรถจักรยานยนต์ ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็กเพื่อการเกษตร ช่างติดตั้งเครื่องเสียงรถยนต์ช่างซ่อมตัวถังรถยนต์ ช่างซ่อมเครื่องยนต์และช่างไฟฟ้ารถยนต์ เป็นต้น สามารถเข้ารับการฝึกร่วมกันได้2. หัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในหมวดความรู้ความสามารถหลัก ผู้รับการฝึกสาขาช่างซ่อมเครื่องยนต์ต้องเข้ารับการฝึกทุกหัวข้อวิชา3. หัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในหมวดความรู้ความสามารถเสริม เป็นหัวข้อวิชาที่จัดไว้ให้สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน เลือกให้ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกตามความจำเป็นที่จะต้องนำความรู้ความสามารถไปใช้ประกอบอาชีพ ให้สอดคล้องกับความต้องการในแต่ละพื้นที่ และ/หรือ สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถกำหนดหัวข้อวิชาในหมวดความรู้ความสามารถเสริมขึ้นเองได้ ทั้งนี้ระยะเวลาฝึกที่เพิ่มขึ้นเมื่อรวมกับเวลาฝึกในหมวดอื่นๆ แล้ว ต้องไม่เกินระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร การฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์65.3 เนื้อหาวิชาหมวดความรู้ความสามารถพื้นฐาน0911010101 กิจกรรมสร้างเสริมนิสัยในการทำงาน (0 : 14)เรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์ การปรับตัวให้เข้ากับสังคมของการทำงาน การสื่อข้อความ การมีทัศนคติที่ดีต่องานและสังคม การมีคุณธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพของตน การรักษาสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การศึกษาดูงานนอกสถานที่0911010102 ความปลอดภัยในการทำงาน (7 : 0)ศึกษาเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ วินัย และข้อบังคับในการปฏิบัติงาน สาเหตุและความสูญเสียของอุบัติภัย และการป้องกันจากการปฏิบัติงานทั่วไป การป้องกันและระงับอัคคีภัย โรคอันเนื่องจากการทำงาน หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ไฟฟ้า สารเคมีและงานก่อสร้าง การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น0911010113 งานเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น (7 : 28)ศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัย เครื่องมือและอุปกรณ์ ในงานเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น สัญลักษณ์ หลักและวิธีการเชื่อมไฟฟ้า การตรวจสอบ0911010103 คณิตศาสตร์ช่าง (14 : 0)ทบทวนความรู้ในเรื่องระบบจำนวน ตัวเลข เศษส่วน ทศนิยม ร้อยละ อัตราส่วน สัดส่วน การประมาณค่า การเทียบบัญญัติไตรยางค์ การหาพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิต การแทนค่าและการคำนวณค่าด้วยความรู้ทางคณิตศาสตร์0911010119 งานฝึกฝีมือเบื้องต้น (7 : 28)บฏิบัติงานเกี่ยวกับ งานตะไบ งานเจาะ งานเลื่อย งานทำเกลียว งานเจียระไน งานคว้าน งานย้ำหมุด งานเครื่องมือวัดและตรวจสอบ การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องมือ0911010118 วัสดุงานช่างยนต์ (14 : 0)ศึกษาคุณสมบัติของโลหะ อโลหะ พลาสติก เซรามิกส์ วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุหล่อลื่นและโลหะผสมที่ใช้ในงานช่างยนต์ มาตรฐานของวัสดุ การใช้งานและการเก็บรักษา การฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยน หมายเหตุ1. หัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในหมวดความรู้ความสามารถพื้นฐาน ผู้รับการฝึกในกลุ่มอาชีพช่าง ยนต์ เช่น ช่างซ่อมรถจักรยานยนต์ ช่างซ่อมเครื่องยนต์เล็กเพื่อการเกษตร ช่างติดตั้งเครื่องเสียงรถยนต์ช่างซ่อมตัวถังรถยนต์ ช่างซ่อมเครื่องยนต์และช่างไฟฟ้ารถยนต์ เป็นต้น สามารถเข้ารับการฝึกร่วมกันได้2. หัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในหมวดความรู้ความสามารถหลัก ผู้รับการฝึกสาขาช่างซ่อมเครื่องยนต์ต้องเข้ารับการฝึกทุกหัวข้อวิชา3. หัวข้อวิชาที่กำหนดไว้ในหมวดความรู้ความสามารถเสริม เป็นหัวข้อวิชาที่จัดไว้ให้สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน/ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน เลือกให้ผู้รับการฝึกเข้ารับการฝึกตามความจำเป็นที่จะต้องนำความรู้ความสามารถไปใช้ประกอบอาชีพ ให้สอดคล้องกับความต้องการในแต่ละพื้นที่ และ/หรือ สถาบันพัฒนา ฝีมือแรงงาน / ศูนย์พัฒนาฝีมือแรงงาน สามารถกำหนดหัวข้อวิชาในหมวดความรู้ความสามารถเสริมขึ้นเองได้ ทั้งนี้ระยะเวลาฝึกที่เพิ่มขึ้นเมื่อรวมกับเวลาฝึกในหมวดอื่นๆ แล้ว ต้องไม่เกินระยะเวลาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร การฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์65.3 เนื้อหาวิชาหมวดความรู้ความสามารถพื้นฐาน0911010101 กิจกรรมสร้างเสริมนิสัยในการทำงาน (0 : 14)เรียนรู้และเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์ การปรับตัวให้เข้ากับสังคมของการทำงาน การสื่อข้อความ การมีทัศนคติที่ดีต่องานและสังคม การมีคุณธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพของตน การรักษาสิ่งแวดล้อมเบื้องต้น การศึกษาดูงานนอกสถานที่0911010102 ความปลอดภัยในการทำงาน (7 : 0)ศึกษาเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ วินัย และข้อบังคับในการปฏิบัติงาน สาเหตุและความสูญเสียของอุบัติภัย และการป้องกันจากการปฏิบัติงานทั่วไป การป้องกันและระงับอัคคีภัย โรคอันเนื่องจากการทำงาน หลักความปลอดภัยในการปฏิบัติงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ไฟฟ้า สารเคมีและงานก่อสร้าง การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล กฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย และการปฐมพยาบาลเบื้องต้น0911010113 งานเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น (7 : 28)ศึกษาเกี่ยวกับความปลอดภัย เครื่องมือและอุปกรณ์ ในงานเชื่อมไฟฟ้าเบื้องต้น สัญลักษณ์ หลักและวิธีการเชื่อมไฟฟ้า การตรวจสอบ0911010103 คณิตศาสตร์ช่าง (14 : 0)ทบทวนความรู้ในเรื่องระบบจำนวน ตัวเลข เศษส่วน ทศนิยม ร้อยละ อัตราส่วน สัดส่วน การประมาณค่า การเทียบบัญญัติไตรยางค์ การหาพื้นที่และปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิต การแทนค่าและการคำนวณค่าด้วยความรู้ทางคณิตศาสตร์0911010119 งานฝึกฝีมือเบื้องต้น (7 : 28)บฏิบัติงานเกี่ยวกับ งานตะไบ งานเจาะ งานเลื่อย งานทำเกลียว งานเจียระไน งานคว้าน งานย้ำหมุด งานเครื่องมือวัดและตรวจสอบ การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องมือ0911010118 วัสดุงานช่างยนต์ (14 : 0)ศึกษาคุณสมบัติของโลหะ อโลหะ พลาสติก เซรามิกส์ วัสดุเชื้อเพลิง วัสดุหล่อลื่นและโลหะผสมที่ใช้ในงานช่างยนต์ มาตรฐานของวัสดุ การใช้งานและการเก็บรักษา การฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยน 0911022307 ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงดีเซล (7 : 21)หน้าที่ของระบบน้ำมันเชื้อเพลิง ชนิดของระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง ระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงแบบท่อร่วม แบบระบบปั๊มประจำสูบ แบบระบบจ่ายเชื้อเพลิงแบบปั๊มชุด แบบระบบจ่ายเชื้อเพลิงแบบจานจ่าย การถอด-ประกอบและการบริการระบบฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง0911022308 ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงดีเซล (14 : 35)หน้าที่ของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง ชนิดของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงแบบกำลังดันต่ำ ปั๊มฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง หลักการทำงานของปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง หลักการทำงานของลูกปั๊มในตำแหน่งต่าง ๆ ลิ้นส่งน้ำมันเชื้อเพลิง ปั๊มแบบไบรซ์ ปั๊มแบบซิมม์ ปั๊มแบบยูนิตอินเจ็กชั่น ปั๊มฉีดน้ำมันเชื้อเพลิงแบบจานจ่าย การถอด-ประกอบปั๊มฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง การตรวจสอบอุปกรณ์ฉีดเชื้อเพลิง การถอดเปลี่ยนลูกปั๊ม การบริการสปริงลูกปั๊ม การถอด-ประกอบแท๊พเพ็ท การบริการลิ้นส่งน้ำมัน การถอด-ประกอบและบริการปั๊มกำลังดันต่ำและปั๊มมือ การทดสอบปั๊มกำลังดันต่ำ การติดตั้งและการทดสอบปั๊มฉีดเชื้อเพลิง ปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิงแบบใช้อิเล็กทรอนิกส์ควบคุมความสำคัญของเครื่องควบคุมความเร็ว ประเภทของเครื่องควบคุมความเร็ว คุณลักษณะของเครื่องควบคุมความเร็วแบบต่างๆ การถอด-ประกอบและบริการเครื่องควบคุมความเร็ว0911022309 หัวฉีด (7 : 14)หน้าที่ ชนิดการทำงานของหัวฉีด ส่วนประกอบของหัวฉีด สัญลักษณ์ประจำตัวของหัวฉีด การถอดประกอบหัวฉีด การบริการบำรุงรักษาหัวฉีด การทดสอบหัวฉีด0911022310 การถอด-ประกอบและการตรวจสอบเครื่องยนต์ดีเซล (7 : 56)การถอดชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครื่องยนต์ งานซ่อมหนักหรือยกเครื่อง การบริการกระบอกสูบ การบริการแหวนลูกสูบ งานตรวจสอบระยะห่างแบริ่ง งานบริการลิ้นเครื่องยนต์ การบริการหัวฉีด การตรวจสอบชิ้นส่วนภายในปั๊ม งานทดสอบปรับแต่งปั๊มฉีดน้ำมันเชื้อเพลิง การประกอบติดตั้งปั๊มน้ำมันเชื้อเพลิง การปรับแต่งเครื่องควบคุมความเร็ว0911022311 การแก้ไขข้อขัดข้องเครื่องยนต์ดีเซล (7 : 42)หลักการตรวจหาสาเหตุข้อขัดข้อง แผนผังการตรวจสอบปัญหาข้อขัดข้องของเครื่องยนต์ การวิเคราะห์ไอเสีย การตรวจสอบปัญหาและวิธีแก้ไข การฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์100911022115 การปรับแต่งเครื่องยนต์ ? (7 : 42)การตรวจวัดกำลังอัด การวินิจฉัยเครื่องยนต์ด้วยเครื่องตรวจสุญญากาศ การทดสอบรั่วของระบบระบายความร้อน การตรวจวัดแรงดันน้ำมันเครื่อง การถอด-ประกอบสายพาน การตั้งลิ้นแบบต่างๆ การปรับตั้งองศาจุดระเบิดด้วย TIMING LIGHT0911026103 การบำรุงรักษาและเหตุข้อขัดข้อง (7 : 14)การตรวจสอบบำรุงรักษาเป็นระยะ การบำรุงรักษาแบบป้องกัน สาเหตุข้อบกพร่องของ เครื่องยนต์และการแก้ไขหมวดความรู้ความสามารถเสริม0911030104 คอมพิวเตอร์เบื้องต้น (7 : 14)ศึกษาส่วนประกอบของเครื่องคอมพิวเตอร์ รหัสข้อมูลและการวัดขนาดข้อมูล สื่อบันทึกข้อมูลไวรัสคอมพิวเตอร์ จรรยาบรรณผู้ปฏิบัติงานด้านคอมพิวเตอร์ฝึกทักษะการบำรุงรักษาคอมพิวเตอร์อย่างถูกวิธี การใช้ระบบปฏิบัติการและโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป การใช้อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น0911030105 ภาษาอังกฤษในการทำงาน (14 : 21)เรียนรู้และฝึกทักษะเบื้องต้นในการพูด การฟัง การอ่าน การเขียนและแปลความหมายของศัพท์เทคนิค คู่มือการใช้งานของอุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องจักร ตลอดจนคำเตือนต่าง ๆ การใช้ภาษาในงานด้านช่าง และในชีวิตประจำวัน0911030106 การประกอบธุรกิจส่วนตัว (21 : 0)ศึกษาความหมายและประเภทของการประกอบธุรกิจส่วนตัว ประเภทสินค้าและการให้บริการ ลู่ทางการประกอบธุรกิจส่วนตัว การเตรียมความพร้อมในการประกอบธุรกิจส่วนตัว การศึกษาช่องทางธุรกิจ เงินทุนเริ่มต้น ปัจจัยในการผลิต ทำเลที่ตั้ง สถานที่และอุปกรณ์ การจัดทำงบประมาณและการจัดทำบัญชีอย่างง่าย การคิดต้นทุนและกำไร/ขาดทุน การดำเนินงานด้านการตลาด จิตสำนึกในการให้บริการ ความรับผิดชอบต่อสังคมการฝึกเตรียมเข้าทำงาน หลักสูตรวุฒิบัตรพัฒนาฝีมือแรงงาน ช่างซ่อมเครื่องยนต์
ช่างยนต์
ประวัติปราชญ์ชาวบ้าน ด้านช่างยนต์ กำนันชูชาติ ต่วนเทศ อายุ 53 ปี การศึกษา ม.3 อาชีพ ทำนา อยู่บ้านเลขที่ 5 หมู่ 2 ตำบลเนินแจง อำเภอเมืองอุทัยธานี จังหวัดอุทัยธานี (61000) ประสบการณ์ ประสบการณ์ในการเป็นช่างยนต์ ปฏิบัติการซ่อมรถยนต์มาเป็นเวลา 30 ปี

ความเป็นมาและความสำคัญ ด้วยการมีใจรักในการซ่อมเครื่องยนต์ การอ๊อก การเชื่อม ประกอบกับมีอาชีพในทางการเกษตรต้องซ่อมเครื่องยนต์อยู่เสมอ จึงพยายามศึกษาและหัดซ่อมด้วยตนเอง เพื่อประหยัดค่าใช้จ่าย นอกจากนี้ยังศึกษาหาความรู้จากผู้มีความรู้ โดยการสอบถามและจำจด สังเกต และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จึงทำให้เกิดความชำนาญสามารถซ่อมเครื่องยนต์ที่ตนเองมีไว้ใช้ในการประกอบอาชีพโดยไม่ต้องเสียค่าซ่อม จึงทำให้ช่วยลดรายจ่ายของครอบครัวได้อีกทางหนึ่ง ปัจจุบันอาชีพช่างยนต์มีความสำคัญมากเนื่องจากรถยนต์มีมากขึ้น แต่ช่างที่จะทำการซ่อมนั้นมีไม่มากนัก จึงเป็นโอกาสดีของผู้ที่มีความรู้ความสามารถทางด้านนี้จะยึดเป็นอาชีพได้ย่างสบาย เพราะค่าแรงในการซ่อมเครื่องยนต์มีราคาสูงพอสมควร และยังสามารถซ่อมบำรุงรถของตนเองได้อีกด้วย

วัสดุอุปกรณ์ 1.เครื่องปั้มลม 2.เครื่องมือต่าง ๆ หรือกุญแจ 3.ตู้เชื่อมไฟฟ้า 4.แท่นกลึงเหล็ก 5.แก๊สตัดเหล็ก 6.หินเจีย 7.แม่แรง และอุปกรณ์จำเป็นอื่น ๆ

ขั้นตอนการผลิด 1.ตรวจสภาพของเครื่องยนต์ในตำแหน่งที่คิดว่าเสีย 2.จัดเตรียมเครื่องมือในการซ่อม 3.ทำการตรวจเช็คจุดที่เสีย 4.ถอดชิ้นส่วนเพื่อดูส่วนที่เสีย 5.เมื่อหาจุดได้แล้วจึงทำการซ่อมเครื่องยนต์ 6.เมื่อซ่อมเสร็จจึงทำการทดลองเครื่องยนต์ถ้าไม่มีปัญหาอื่นใดจึงนำรถออกไปใช้ได้

ประโยชน์ 1.ช่วยลดรายจ่ายให้กับครอบครัว 2.สร้างรายได้ให้กับครอบครอบถ้ารับบริการซ่อมเครื่องยนต์ 3.สะดวกรวดเร็วต่อการใช้งาน 4.เครื่องยนต์มีคุณภาพเนื่องจากเราซ่อมเอง

จุดเด่น ลดค่าใช้จ่าย เพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวจุดด้อย เป็นงานที่ต้องสกปรกอยู่ตลอดเวลา

วันพุธที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552

วันพุธที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2552


การออกหนังสือรับรองภาษาอังกฤษปัจจุบันสรรพากรได้ให้บริการการออกหนังสือรับรองการเสียภาษี และการมีถิ่นที่อยู่เป็นภาษาอังกฤษให้กับผู้เสียภาษี ผู้เสียภาษีสามารถนำหนังสือรับรองเหล่านี้ไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์ทางภาษีในต่างประเทศได้ ประเภทหนังสือรับรองที่ออกให้โดยกรมสรรพากร1. หนังสือรับรองการเสียภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย (Non – Resident Withholding Tax Certificate)2. หนังสือรับรองการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และนิติบุคคลเป็นภาษาอังกฤษ (Income Tax Payment Certificate)3. หนังสือรับรองการมีถิ่นที่อยู่เพื่อการรัษฎากรในประเทศไทย (Certificate of Residence)4. หนังสือรับรองการมีสถานภาพเป็นผู้เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม (Statement on the Tax Status of the Business)5. หนังสือรับรองการมีสถานภาพเป็นผู้เสียภาษีตามกฎหมายไทย (Certificate of Status of Taxable Person)ผู้ออกหนังสือรับรอง สำนักงานสรรพากรที่รับผิดชอบในท้องที่ของผู้หักภาษี ณ ที่จ่าย หรือผู้เสียภาษี ซึ่งได้แก่ - สรรพากรภาค - สำนักบริหารผู้เสียภาษีขนาดใหญ่ขออย่างไรยื่นคำร้องต่อสำนักงานสรรพากรที่ท่านสังกัดตามข้างต้น พร้อมเอกสารที่เกี่ยวข้อง (ตามประเภทของหนังสือรับรองที่ต้องการ)
เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
เลขประจำตัวประชาชนใช้แทนเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากรที่ยังคงต้องขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
เอกสารที่ต้องแนบพร้อมกับแบบคำร้องการขอมีเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นภาษีอากรประเภทหนึ่งที่บัญญัติไว้ ในประมวลรัษฎากร จัดเก็บจากเงินได้ของบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีหลักการจัดเก็บที่สำคัญๆ โดยลำดับดังนี้
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
นิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
ฐานภาษีของภาษีเงินได้นิติบุคคล
ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณจากกำไรสุทธิ
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิ
รอบระยะเวลาบัญชี
กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ
เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
อัตราภาษีและการคำนวณภาษี
การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับการจำหน่ายกำไรไปนอกประเทศ
สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
บัญชีอัตราภาษี